เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม และในสมัย อ่านต่อ...
วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
มงคลสูตรคำฉันท์
ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
ลักษณะคำประพันธ์ : กาพย์ฉบัง ๑๖ และอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ แทรกคาถาบาลี
จุดมุ่งหมายในการแต่ง : เพื่อให้ตระหนักว่าสิริมงคลจะเกิดแก่ผู้ใดก็เพียงผลมาจากการปฏิบัติของตนทั้งสิ้นไม่มีผู้ใดหรือสิ่งใดจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่เราได้นอกจากตัวเราเอง อ่านต่อ...
ลักษณะคำประพันธ์ : กาพย์ฉบัง ๑๖ และอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ แทรกคาถาบาลี
จุดมุ่งหมายในการแต่ง : เพื่อให้ตระหนักว่าสิริมงคลจะเกิดแก่ผู้ใดก็เพียงผลมาจากการปฏิบัติของตนทั้งสิ้นไม่มีผู้ใดหรือสิ่งใดจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่เราได้นอกจากตัวเราเอง อ่านต่อ...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี เป็นบทความพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่แสดงให้เห็นถึงการเอาพระทัยใส่ความเข้าพระทัยในปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนพระเมตตาของพระองค์ที่ทรงมีต่อชาวนา เนื่องด้วยชาวนาแต่ละท้องที่ล้วนมีสภาพชีวิตและความทุกข์ยาก อ่านต่อ...
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี เป็นบทความพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่แสดงให้เห็นถึงการเอาพระทัยใส่ความเข้าพระทัยในปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนพระเมตตาของพระองค์ที่ทรงมีต่อชาวนา เนื่องด้วยชาวนาแต่ละท้องที่ล้วนมีสภาพชีวิตและความทุกข์ยาก อ่านต่อ...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
หัวใจชายหนุ่ม
เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิต” เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๔ ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย
มีจำนวน ๑๘ ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด ๑ ปี ๗ เดือน อ่านต่อ...
วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
นิราศนรินทร์คำโคลง
ความเป็นมา
นิราศ
เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย
ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๑.๑ ลักษณะของนิราศ อ่านต่อ...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง
นิทานเวตาล เรื่องที่ ๑๐
๑) เวตาล เป็นชื่อตัวละครตัวเอกของเรื่อง
นิทานเวตาลมีหลายเรื่อง
๒)
ผู้แปล พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.)
พระนามเดิม พระองค์เจ้ารัชนี แจ่มจรัส
นามแฝง น.ม.ส. นำมาจากพยัญชนะตัวสุดท้ายของชื่อ
และนามสกุล อ่านต่อ...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา
เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2
เป็นบทละครรำที่พร้อมเพรียงทั้งเนื้อหา ความไพเราะ กระบวนการเล่นละคร
และยังสะท้อนถึงประเพณีไทยในอดีต อ่านต่อ...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ
ผลงานการประพันธ์ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย
อาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์
โดยมีความมุ่งหมายที่จะให้ผู้อ่าน
อ่านต่อบทนำ
การวิจักษ์วรรณคดี
๑. อ่านอย่างพินิจพิจารณา
คือ การอ่านโดยใช้การวิเคราะห์ อ่านตั้งแต่ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง
คำนำ คำนิยม สารบัญ ไปจนถึงเนื้อหาและบรรณานุกรม
รวมถึงประวัติของผู้เขียนซึ่งจะทำให้เข้าใจเนื้อหา มูลเหตุของการแต่ง
แรงบันดาลในฝนการแต่งและสิ่งที่แฝงเน้นภายในหนังสือ อ่านต่อ...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)